การให้ยาโคนม

การให้ยาโคนม
เกษตรกรสามารถให้ยาแก่โคของตนเองได้ โดยมีหลักการดังนี้
1. อยู่ภายใต้การควบคุมของสัตวแพทย์
2. ให้ยาในขนาดที่ถูกต้องและครบจำนวนไม่หกหล่นในระหว่างการให้
3. ให้ยาถูกทาง เช่น ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ฉีดเข้ากล้าม ให้ทางปาก ทาภายนอกหรือฉีดเข้าเต้านม เป็นต้น
4. ควรอ่านฉลากยาให้ละเอียดก่อนเสมอ ศึกษาคุณภาพของยา อันตรายและแนวทางการแก้ไข วันหมดอายุของยา วิธีใช้ ฯลฯ
5. ความสะอาดทุกขั้นตอนเป็นสิ่งที่สำคัญ เข็มและกระบอกฉีดยาต้องสะอาดปราศจากเชื้อโรค บ่อยครั้งที่พบว่าโคเกิดเป็นฝีตรงบริเวณที่ฉีดยาหรือวัคซีน
6. การให้ยาหลายอย่างในเวลาเดียวกัน อาจเกิดผลเสียถ้าฤทธิ์ยาไม่สอดคล้องกัน
7. ทุกครั้งที่ให้ยาควรถามสัตวแพทย์ว่าต้องงดส่งนมหรือไม่ เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค ซึ่งจะสะท้อนผลกลับมาหาเกษตรกรเอง
8. การใช้ยาไม่ถูกต้องอาจทำให้เกิดการดื้อยาขึ้นได้
9. ในระหว่างปฏิบัติงานเกี่ยวกับการใช้ยา ห้ามเกษตรกรดื่มหรือกินอาหารและสูบบุหรี่เด็ดขาด เพราะอาจได้รับสารที่เป็นพิษเข้าไป
10. บันทึกการใช้ยาโดยละเอียดทุกครั้ง เพื่อเป็นข้อมูลประจำตัวสัตว์


  • โคนม
    ข้อควรพิจารณาในการจัดการให้อาหารโคนม Thursday, 24 December 2009 09:24 คุณเกียรติศักดิ์ กล่ำเอม ข้อควรพิจารณาในการจัดการให้อาหารโคนม การเลี้ยงโคนมให้ประสบผลสำเร็จเป็นเรื่อ...

  • การตรวจสุขภาพโคนมประจำปี
    การตรวจสุขภาพโคนมประจำปีโครีดนมทุกตัวจะต้องรับการตรวจวัณโรคและโรคบรูเซลโลซิส (แท้งติดต่อ) ทุกปี เพราะทั้งสองโรคนี้ติดต่อถึงคนได้ทางน้ำนม เกษตรกรที่ได้รับการนัดตรวจโรคจะต้องกักโคไว้...

  • วัคซีนโค
    วัคซีน คือสารที่ใช้กระตุ้นร่างกายให้สร้างภูมิต้านทานโรค ช่วยป้องกันโรคซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงตายหรือเกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจขึ้นได้ วัคซีนโคที่สำคัญ ได้แก่ วัคซีนบรูเซลโลซีส, วัคซี...

  • ประเภทของเวชภัณฑ์
    ประเภทของเวชภัณฑ์เวชภัณฑ์สำหรับโคนม ได้แก่ 1. ยาปฏิชีวนะ มีฤทธิ์ต่อต้านและทำลายจุลินทรีย์ ยาในกลุ่มนี้ถูกนำมาใช้กันอย่างกว้างขวาง ได้แก่ เพนนิซิลลิน คลอแรมฟินิคอล ออกซี่เตตร้าไซคลิ...

  • ตู้ยาประจำคอกโคนม
    ตู้ยาประจำคอกโคนมโคนมเป็นสัตว์ที่ค่อนข้างเปราะ เพราะต้องสูญเสียสิ่งที่มีคุณค่าไปกับน้ำนมทุกวัน เกษตรกรจึงควรดูแลเอาใจใส่สุขภาพของโคนมอย่างใกล้ชิดและเมื่อเกิดปัญหาขึ้นควรรีบแก้ไข ซึ...

  • การใช้ปรอทวัดไข้
    การใช้ปรอทวัดไข้ปรอทวัดไข้เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัยโรคอย่างหนึ่ง ซึ่งเกษตรกรสามารถหาและใช้ได้ ปรอทประกอบด้วยหลอดแก้ว 2 ชั้นรวมกันอยู่ ชั้นในบรรจุสารปรอทซึ่งมีคุณสมบัติขยาย...

  • เรื่องโรคในโคนม
    เรื่องโรคในโคนมโรค คือ การเปลี่ยนแปลงของร่างกายสัตว์ไปจากปกติ เป็นผลให้เกิดอันตรายต่อตัวสัตว์ การเปลี่ยนแปลงนี้หมายถึงการเปลี่ยนแปลงทา งอวัยวะและหน้าที่ของอวัยวะด้วย เช่น พยาธิใบไม...

  • การเก็บอุจจาระเพื่อส่งตรวจ
    การเก็บอุจจาระเพื่อส่งตรวจการวินิจฉัยโรคพยาธิเบื้องต้นที่นิยมกันทั่วไป และได้ผลดี คือ การตรวจหาไข่พยาธิจากอุจจาระโคที่เก็บส่งห้องปฏิบัติการอย่างถูกวิธี คือ 1. ล้วงเก็บอุจจาระจากทวา...
Visitors: 119,331